วันอังคารที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2560
วันพฤหัสบดีที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2560
ในยุคที่ข้อมูลข่าวสาร และเทคโนโลยีมีการพัฒนาเจริญก้าวหน้าไปเรื่อย ๆเครือข่ายศูนย์เรียนรู้ใกล้บ้าน “ศูนย์ดิจิทัลชุมชนตำบลกู่” ศรีสะเกษ
เครือข่ายศูนย์เรียนรู้ใกล้บ้าน “ศูนย์ดิจิทัลชุมชนตำบลกู่” โดย สำนักงานอุทยานการเรียนรู้ TK park ร่วม ส่งเสริมและสนับสนุนศูนย์การเรียนรู้ของหน่วยงานต่างๆ ในระดับตำบลให้เป็นศูนย์การเรียนรู้ที่ทันสมัยและสร้างสรรค์
เพื่อขยายโอกาสการเข้าถึงองค์ความรู้และส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต ให้แก่ประชาชนทุกช่วงวัย และเพื่อพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตที่จะเป็นรากฐานในการพัฒนาสังคมไทยสู่สังคมแห่งการเรียนรู้อย่างยั่งยืน โดยบูรณาการการทำงานร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.) กรมการพัฒนาชุมชน สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) แผนงานสร้างเสริมวัฒนธรรมการอ่าน สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และกรมส่งเสริมการเกษตร
“ศูนย์ดิจิทัลชุมชนตำบลกู่”เริ่มตั้งมาเมื่อปี ๒๕๕๘ ตั้งอยู่ที่อาคารที่ทำการกำนันตำบลกู่ บ้านกู่ หมู่ ๑ ตำบลกู่ อำเภอปรางค์กู่ จังหวัดศรีสะเกษ ให้เด็กนักเรียน นักศึกษา ประชาชนทั่วไป ได้มาค้นคว้าหาความรู้ได้ตลอดเวลา เพราะในชุมชนโดยรอบ มีทุนทางสังคมที่หลากหลาย นอกเหนือจากการบริหารจัดการให้เด็กๆเยาวชนในชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการช่วยดูแลศูนย์ และร่วมรับผิดชอบกิจกรรมต่างๆที่เกิดขึ้นในศูนย์แห่งนี้ ยังได้ประสานงานความร่วมมือกับมหาวิทยาลุยราชภัฏศรีสะเกษ คณะมนุษยศาสต์และสังคมศาสตร์ จัดกิจกรรมการเรียนการสอนภาษา ทั้ง ภาษาอังกฤษ ภาษาญี่ปุ่น และเทคนิคการวาดภาพ ผ่านงานศิลปะ เพื่อเป็นการพัฒนาทักษะ ให้กับเด็กๆเยาวชน มีหนังสื่อมากมายหลายรูปแบบ ให้ประชาชนได้มาเลือกอ่านหาความรู้ได้ตลอด เป็นแหล่งเรียนรู้ที่สำคัญ
ได้เข้ามามีส่วนร่วมและมีบทบาทเพิ่มมากขึ้นในฐานะเป็นแหล่งการเรียนรู้ใกล้บ้าน ความรู้จะไปสู่ประชาชนที่มาใช้บริการ
เพื่อขยายโอกาสการเข้าถึงองค์ความรู้และส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต ให้แก่ประชาชนทุกช่วงวัย และเพื่อพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตที่จะเป็นรากฐานในการพัฒนาสังคมไทยสู่สังคมแห่งการเรียนรู้อย่างยั่งยืน โดยบูรณาการการทำงานร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.) กรมการพัฒนาชุมชน สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) แผนงานสร้างเสริมวัฒนธรรมการอ่าน สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และกรมส่งเสริมการเกษตร
“ศูนย์ดิจิทัลชุมชนตำบลกู่”เริ่มตั้งมาเมื่อปี ๒๕๕๘ ตั้งอยู่ที่อาคารที่ทำการกำนันตำบลกู่ บ้านกู่ หมู่ ๑ ตำบลกู่ อำเภอปรางค์กู่ จังหวัดศรีสะเกษ ให้เด็กนักเรียน นักศึกษา ประชาชนทั่วไป ได้มาค้นคว้าหาความรู้ได้ตลอดเวลา เพราะในชุมชนโดยรอบ มีทุนทางสังคมที่หลากหลาย นอกเหนือจากการบริหารจัดการให้เด็กๆเยาวชนในชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการช่วยดูแลศูนย์ และร่วมรับผิดชอบกิจกรรมต่างๆที่เกิดขึ้นในศูนย์แห่งนี้ ยังได้ประสานงานความร่วมมือกับมหาวิทยาลุยราชภัฏศรีสะเกษ คณะมนุษยศาสต์และสังคมศาสตร์ จัดกิจกรรมการเรียนการสอนภาษา ทั้ง ภาษาอังกฤษ ภาษาญี่ปุ่น และเทคนิคการวาดภาพ ผ่านงานศิลปะ เพื่อเป็นการพัฒนาทักษะ ให้กับเด็กๆเยาวชน มีหนังสื่อมากมายหลายรูปแบบ ให้ประชาชนได้มาเลือกอ่านหาความรู้ได้ตลอด เป็นแหล่งเรียนรู้ที่สำคัญ
ได้เข้ามามีส่วนร่วมและมีบทบาทเพิ่มมากขึ้นในฐานะเป็นแหล่งการเรียนรู้ใกล้บ้าน ความรู้จะไปสู่ประชาชนที่มาใช้บริการ
วันพุธที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2560
ศูนย์ดิจิทัลชุมชนตำบลกู่กับการสร้างรายได้ให้กับกลุ่มอาชีพในชุมชน
ศูนย์ดิจิทัลชุมชนตำบลกู่ อำเภอปรางค์กู่ จังหวัดศรีสะเกษ กับการสร้างรายได้ให้กับกลุ่มอาชีพในชุมชน
เพื่อให้เกิดการสร้างรายได้ผ่านธุรกิจพาณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์ ผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง จากศูนย์ดิจิทัลชุมชนตำบลกู่ ในการกำกับกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม เพื่อเป็นช่องทางจำหน่ายสินค้า ผ่านระบบการซื้อขายออนไลน์ รวมถึงการกระจายสินค้าไปยังผู้ซื้อ หรือ อี โลจิสติกส์ รวมถึงระบบการชำระเงิน หรือ อี เพลย์เม้น ทั้งชำระด้วยเงินสด และออนไลน์หรือเก็บเงินปลายทาง
โดยจะมีการฝึกอบรมให้กับชาวบ้านและร้านค้าชุมชนจำนวน ๓๐ ร้านค้าหรือกลุ่มร้านค้า เพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจของชุมชนและประเทศไทยต่อไป
เพื่อให้เกิดการสร้างรายได้ผ่านธุรกิจพาณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์ ผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง จากศูนย์ดิจิทัลชุมชนตำบลกู่ ในการกำกับกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม เพื่อเป็นช่องทางจำหน่ายสินค้า ผ่านระบบการซื้อขายออนไลน์ รวมถึงการกระจายสินค้าไปยังผู้ซื้อ หรือ อี โลจิสติกส์ รวมถึงระบบการชำระเงิน หรือ อี เพลย์เม้น ทั้งชำระด้วยเงินสด และออนไลน์หรือเก็บเงินปลายทาง
โดยจะมีการฝึกอบรมให้กับชาวบ้านและร้านค้าชุมชนจำนวน ๓๐ ร้านค้าหรือกลุ่มร้านค้า เพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจของชุมชนและประเทศไทยต่อไป
E-Commerce ชุมชน
E-Commerce
1.การทำการค้าระหว่าง Customer (ผู้บริโภคหรือผู้ซื้อ) กับ Business (ผู้ทำการค้า) เช่น ลูกค้าต้องการซื้อผลิตภัณฑ์กับร้านค้าชุมชน
2.การทำการค้าระหว่าง Business (ผู้ทำการค้า) กับ Business ( ผู้ทำการค้า)
3.การทำการค้าระหว่าง Business ( ผู้ทำการค้า) กับ Customer (ผู้บริโภคหรือผู้ซื้อ)
4. การทำการค้าระหว่าง Customer (ผู้บริโภคหรือผู้ซื้อ) กับ Customer (ผู้บริโภคหรือผู้ซื้อ) ด้วยกัน
ข้อดี
1.เปิดดำเนินการค้า 24 ชั่วโมง
2.ดำเนินการค้าอย่างไร้พรมแดนทั่วโลก
3.ใช้งบประมาณลงทุนน้อย
4.ตัดปัญหาด้านการเดินทาง
5.ง่ายต่อการประชาสัมพัธ์โดย สามารถประชาสัมพันธ์ได้ทั่วโลก
ข้อเสีย
1.ต้องมีระบบรักษาความปลอดภัยที่มีประสิทธิภาพ
2.จำเป็นต้องมีกฎหมายรองรับอย่างมีประสิทธิภาพ
3.การดำเนินการด้านภาษีต้องชัดเจน
4.ผู้ซื้อและผู้ขายจำเป็นต้องมีความรู้พื้นฐานในเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต
1.การทำการค้าระหว่าง Customer (ผู้บริโภคหรือผู้ซื้อ) กับ Business (ผู้ทำการค้า) เช่น ลูกค้าต้องการซื้อผลิตภัณฑ์กับร้านค้าชุมชน
2.การทำการค้าระหว่าง Business (ผู้ทำการค้า) กับ Business ( ผู้ทำการค้า)
3.การทำการค้าระหว่าง Business ( ผู้ทำการค้า) กับ Customer (ผู้บริโภคหรือผู้ซื้อ)
4. การทำการค้าระหว่าง Customer (ผู้บริโภคหรือผู้ซื้อ) กับ Customer (ผู้บริโภคหรือผู้ซื้อ) ด้วยกัน
ข้อดี
1.เปิดดำเนินการค้า 24 ชั่วโมง
2.ดำเนินการค้าอย่างไร้พรมแดนทั่วโลก
3.ใช้งบประมาณลงทุนน้อย
4.ตัดปัญหาด้านการเดินทาง
5.ง่ายต่อการประชาสัมพัธ์โดย สามารถประชาสัมพันธ์ได้ทั่วโลก
ข้อเสีย
1.ต้องมีระบบรักษาความปลอดภัยที่มีประสิทธิภาพ
2.จำเป็นต้องมีกฎหมายรองรับอย่างมีประสิทธิภาพ
3.การดำเนินการด้านภาษีต้องชัดเจน
4.ผู้ซื้อและผู้ขายจำเป็นต้องมีความรู้พื้นฐานในเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)